โคลง - โสภณ

THB 1000.00
โคลง

โคลง  โคลง เป็นคำประพันธ์ที่บังคับวรรณยุกต์ คือ เอก โท และบังคับสัมผัส มีหลักฐานอันควรเชื่อว่าเป็นคำประพันธ์พื้นเมืองไทยทางเหนือและอีสานก่อนจะแพร่หลายมายังภาคกลาง โคลง โคลงในฉันทลักษณ์ของไทยมีโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ นอกจากนี้ยังมีโคลงดั้นอีกหลายแบบ ในที่นี้จะนำเสนอเฉพาะโคลงสี่สุภาพพอเป็นพื้นฐานการแต่งโคลง สำหรับเยาวชนผู้สนใจ

โคลง คือคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีวิธีเรียบเรียงถ้อยคำ เข้าคณะ มีกำหนดเอกโท และสัมผัส แต่มิไดบัญญัติ บังคับ ครุลหุ โคลงแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ โคลงสุภาพ โคลงดั้น และโคลงโบราณ  โคลงพรหมทัต : การศึกษาเชิงวิจารณ์ Thumbnail Author: พรรณเพ็ญ เครือไทย · Panpen Kruathai Subject: โคลง · โคลงพรหมทัต -- ประวัติและวิจารณ์ · วรรณกรรมไทย

คำว่ำ กระทู้ หมำยถึงหัวข้อหลัก ฉะนั้น โคลงกระทู้ก็คือ โคลงที่แต่งตำมคำหรือเค้ำเงื่อนหัวข้อหลัก ที่ตั้งไว้โดยให้คำหรือหัวข้อกระทู้หลักนั้น แต่ละค ำวำงลงมำในแนวดิ่งด้ำนหน้ำของแต่ละบำทของโคลง และ  คำเอก คำโทนับว่า เป็นลักษณะบังคับของโคลงโดยเฉพาะก็ว่าได้ หมายเหตุ ; คำที่ไม่บังคับเป็นคำเอก คำโท เราเรียกกันว่า คำสุภาพ ชนิดของโคลง โคลงแบ่งออกเป็น 5 ชนิด 1 โคลงสุภาพ แบ่งออกเป็นชนิด

Quantity:
Add To Cart